1. เกลือ เกลือ เจ้าศัตรูตัวร้ายของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่เป็นอย่ การแปล - 1. เกลือ เกลือ เจ้าศัตรูตัวร้ายของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่เป็นอย่ ไทย วิธีการพูด

1. เกลือ เกลือ เจ้าศัตรูตัวร้ายของผ

1. เกลือ

เกลือ เจ้าศัตรูตัวร้ายของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่เป็นอย่างนั้นก็เพราะว่าในเกลือมีระดับโซเดียมที่สูง การบริโภคเกลือเพียง 5 กรัมก็เทียบเท่ากับปริมาณโซเดียมที่ต้องได้รับต่อวันแล้ว ซึ่งกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดเอาไว้อยู่ที่ 2,400 มิลลิกรัมต่อวัน

อย่างไรก็ตามถึงแม้เราจะลดการบริโภคเกลือแล้ว แต่รู้ไหมว่าจริง ๆ แล้วเราก็ยังบริโภคเกลือกันมากเกินไปอยู่ดี เพราะมากกว่า 75% ของโซเดียมที่เราบริโภคต่อวันนั้นอยู่ในอาหารแพ็กสำเร็จรูปที่เรารับประทานเข้าไปไม่ว่าจะขนมกรุบกรอบ อาหารสำเร็จรูปแช่แข็ง หรืออาหารกระป๋องต่าง ๆ ดังนั้นทางทีดีเราควรจะหลีกเลี่ยงการเติมเกลือเพิ่มลงในอาหารที่ทานแต่ละมื้อจะดีกว่าค่ะ

2. แฮม เบคอน ไส้กรอก

แฮม เบคอน ไส้กรอก เจ้าอาหารเหล่านี้นี่ล่ะค่ะคือระเบิดโซเดียมของแท้ เพราะกว่าจะกลายมาเป็นอาหารเหล่านี้ บรรดาเนื้อสัตว์ต้องผ่านกรรมวิธีการแปรรูปแต่งรสชาติ ซึ่งกรรมวิธีเหล่านี้มีเกลือเป็นส่วนประกอบเสียเป็นส่วนใหญ่ ยิ่งถ้าหากนำผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์เหล่านี้ไปรับประทานร่วมกับชีส ขนมปัง หรือพวกผักดองด้วยล่ะก็ โอ้โห ... โซเดียมทั้งนั้นเลยค่ะ นอกจากจะทำให้ความดันโลหิตสูงแล้ว อาจจะทำให้เป็นโรคไตได้เลยนะถ้ารับประทานบ่อย ๆ

3. พิซซ่าแช่แข็ง

พิซซ่า ถึงแม้ว่าจะอร่อย แต่มันก็ไม่ได้ค่อยจะดีต่อร่างกาย โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เพราะในพิซซ่า มีทั้งชีส ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์แปรรูป ซอสมะเขือเทศและขนมปัง ซึ่งส่วนประกอบทั้งหลายที่กล่าวมาเป็นแหล่งอุดมด้วยโซเดียมทั้งนั้น ยิ่งพิซซ่าแช่แข็ง ยิ่งอันตรายกับคนที่มีความดันโลหิตสูง เพราะพิซซ่าแช่แข็งจำเป็นจะต้องใส่เกลือมากกว่าพิซซ่าที่ทำร้อน ๆ เพื่อให้อาหารอยู่ได้นานขึ้น ดังนั้น ถ้าอยากทานพิซซ่า ก็ควรทานแต่น้อย และหลีกเลี่ยงพิซซ่าแช่แข็งดีกว่านะคะ

4. อาหารหมักดอง

ขึ้นชื่อว่าอาหารหมักดอง ยังไงมันก็ต้องเป็นอาหารที่ใช้เกลือเป็นส่วนผสมในปริมาณมหาศาลอยู่แล้ว เพราะเกลือนั้นช่วยทำให้อาหารอยู่ได้นานขึ้น อย่างเช่นแตงกวาดอง ซึ่งถูกแปรรูปด้วยการดองน้ำเกลือ ทำให้แตงกวาแปรสภาพเป็นเหมือนฟองน้ำดูดซึมน้ำเกลือเอาไว้เพียบ คงไม่ต้องพูดถึงแล้วใช่ไหมคะว่ามันจะมีโซเดียมมากสักแค่ไหนเชียว ไม่ใช่แค่แตงกวานะ แต่อาหารหมักดองทุกชนิดก็ไม่ต่างกันเลยค่ะ

5. อาหารกระป๋อง

เราปฏิเสธกันไม่ได้เลยว่าโซเดียมมีส่วนทำให้อาหารอยู่ได้นานขึ้น รวมทั้งบรรดาอาหารกระป๋องด้วย ซึ่งในอาหารกระป๋องก็มีระดับโซเดียมที่สูง แต่เรากลับไม่รู้และไม่ได้สนใจ แถมเวลาที่นำอาหารกระป๋องเหล่านั้นมาทำอาหารเราก็ยังเติมเกลือเข้าไปอีก ยิ่งโซเดียมสูงก็ยิ่งอันตราย โดยเฉพาะกับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ดังนั้นหลีกเลี่ยงอาหารกระป๋องแล้วมาใช้วัตถุดิบที่สดใหม่ในการทำอาหารดีกว่า แต่ก็อย่าลืมตัวใส่เกลือลงไปเยอะเกินไปล่ะ

6. น้ำตาล

เรารู้กันอยู่แล้วใช่ไหมล่ะคะ ว่าเจ้าน้ำตาลสามารถทำให้เราเป็นโรคอ้วนได้ แต่มีน้อยคนที่รู้ว่าการบริโภคน้ำตาลมาก ๆ ก็ทำให้ความดันโลหิตสูงได้เหมือนกัน นั่นก็เป็นผลมาจากว่าเมื่อคนเราบริโภคน้ำตาลมากเกินไป ก็จะทำให้กลายเป็นโรคอ้วน และโรคอ้วนนี่ล่ะค่ะที่จะทำให้เราเป็นโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งในปัจจุบันกระทรวงเกษตรของประเทศสหรัฐอเมริกาได้แนะนำปริมาณน้ำตาลที่ควรได้รับต่อวันอยู่ที่ปริมาณ 6 ช้อนชา สำหรับผู้หญิง และ 9 ช้อนชาสำหรับผู้ชาย

7. กาแฟ

กาแฟ ถึงแม้จะไม่มีโซเดียมสูงแต่ก็สามารถทำให้เกิดการแปรปรวนของระดับความดันโลหิตในเลือดได้ เพราะในกาแฟมีคาเฟอีนซึ่งเป็นศัตรูกับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเช่นกัน ดังนั้นถ้าใครที่เป็นโรคนี้ควรจะเลิกดื่มกาแฟไปเลยจะดีกว่า แต่ถ้าจะให้ดีกว่านี้ก็ควรจะหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นน้ำอัดลม ชาชนิดต่าง ๆ จะดีที่สุดค่ะ

8. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์

แอลกอฮอล์เปรียบเสมือนดาบสองคมสำหรับคนเป็นโรคความดันสูง เพราะมีการศึกษาบางส่วนพบว่าการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเช่น ไวน์แดง หรือเบียร์ในปริมาณที่เหมาะสมสามารถช่วยลดระดับความดันโลหิตได้ แต่ถ้าหากดื่มมากไปก็จะทำให้ความดันโลหิตสูงได้ แม้แต่กับคนที่ไม่ค่อยดื่มก็ตาม ซึ่งการดื่มมากกว่า 3 แก้วก็สามารถทำให้ระดับความดันโลหิตเกิดความแปรปรวนได้แล้ว แถมการดื่มซ้ำ ๆ ก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับความดันโลหิตในระยะยาวอีกด้วย และถึงแม้ว่าการดื่มแอลกอฮอล์จะช่วยทำให้ระดับความดันโลหิตทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่มันก็แคลอรี่สูงและทำให้อ้วนได้เช่นกัน ดังนั้น ถ้าคุณไม่ใช่คนที่ดื่มอยู่แล้วก็อย่าไปลองดื่มเลยจะดีกว่าค่ะ

9. ขนมปัง

เชื่อหรือไม่ว่าขนมปังมีโซเดียมสูง สงสัยกันใช่ไหมล่ะคะว่าทำไมมันถึงมีโซเดียมทั้ง ๆ ที่มันก็ไม่ได้เค็มเลย นั่นก็เป็นเพราะว่าโซเดียมที่เราพูดถึงกันอยู่นั้นอยู่ในเบกกิ้งโซดายังไงล่ะ ซึ่งขนมปังจะต้องใช้เบกกิ้งโซดาในการช่วยทำให้ขนมปังฟูขึ้น จึงทำให้ขนมปังที่เรารับประทานนั้นมีโซเดียมสูง แล้วถ้ายิ่งเราทานขนมปังกับเนยเค็มด้วยล่ะก็ โซเดียมยิ่งมากขึ้นเลยล่ะค่ะ ถ้าหากจะทานขนมปังล่ะก็หลีกเลี่ยงการรับประทานคู่กับเนยเค็ม ชีส หรือแฮมดีกว่านะคะ

10. อาหารเช้าซีเรียล

ซีเรียล เป็นอาหารอีกหนึ่งชนิดที่เราแทบไม่คิดว่ามันจะมีผลทำให้ความดันโลหิตสูง นั่นก็เป็นเพราะว่าเราคิดว่าซีเรียลที่ทำจากธัญพืชมีประโยชน์มากกว่าโทษ แต่ลองอ่านฉลากดูดี ๆ สิคะ เจ้าซีเรียลนี่ก็มีโซเดียมเยอะเชียว เพราะฉะนั้น ถ้าเป็นโรคความดันโลหิตสูงอยู่ หลีกเลี่ยงการรับประทานซีเรียลแล้วไปทานข้าวโอ๊ตหรือธัญพืชชนิดอื่นจะดีกว่านะคะ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1. เกลือ เกลือเจ้าศัตรูตัวร้ายของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เป็นอย่างนั้นก็เพราะว่าในเกลือมีระดับโซเดียมที่สูงการบริโภคเกลือเพียง 5 กรัมก็เทียบเท่ากับปริมาณโซเดียมที่ต้องได้รับต่อวันแล้วซึ่งกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเอาไว้อยู่ที่ 2400 มิลลิกรัมต่อวัน อย่างไรก็ตามถึงแม้เราจะลดการบริโภคเกลือแล้วแต่รู้ไหมว่าจริงๆ แล้วเราก็ยังบริโภคเกลือกันมากเกินไปอยู่ดีเพราะมากกว่า 75% ของโซเดียมที่เราบริโภคต่อวันนั้นอยู่ในอาหารแพ็กสำเร็จรูปที่เรารับประทานเข้าไปไม่ว่าจะขนมกรุบกรอบอาหารสำเร็จรูปแช่แข็งหรืออาหารกระป๋องต่างๆ ดังนั้นทางทีดีเราควรจะหลีกเลี่ยงการเติมเกลือเพิ่มลงในอาหารที่ทานแต่ละมื้อจะดีกว่าค่ะ 2. แฮมเบคอนไส้กรอก แฮมเบคอนไส้กรอกเจ้าอาหารเหล่านี้นี่ล่ะค่ะคือระเบิดโซเดียมของแท้เพราะกว่าจะกลายมาเป็นอาหารเหล่านี้บรรดาเนื้อสัตว์ต้องผ่านกรรมวิธีการแปรรูปแต่งรสชาติซึ่งกรรมวิธีเหล่านี้มีเกลือเป็นส่วนประกอบเสียเป็นส่วนใหญ่ยิ่งถ้าหากนำผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์เหล่านี้ไปรับประทานร่วมกับชีสขนมปังหรือพวกผักดองด้วยล่ะก็โอ้โห... โซเดียมทั้งนั้นเลยค่ะนอกจากจะทำให้ความดันโลหิตสูงแล้วอาจจะทำให้เป็นโรคไตได้เลยนะถ้ารับประทานบ่อยๆ 3. พิซซ่าแช่แข็ง พิซซ่าถึงแม้ว่าจะอร่อยแต่มันก็ไม่ได้ค่อยจะดีต่อร่างกายโดยเฉพาะผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพราะในพิซซ่ามีทั้งชีสผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์แปรรูปซอสมะเขือเทศและขนมปังซึ่งส่วนประกอบทั้งหลายที่กล่าวมาเป็นแหล่งอุดมด้วยโซเดียมทั้งนั้นยิ่งพิซซ่าแช่แข็งยิ่งอันตรายกับคนที่มีความดันโลหิตสูงเพราะพิซซ่าแช่แข็งจำเป็นจะต้องใส่เกลือมากกว่าพิซซ่าที่ทำร้อนๆ เพื่อให้อาหารอยู่ได้นานขึ้นดังนั้นถ้าอยากทานพิซซ่าก็ควรทานแต่น้อยและหลีกเลี่ยงพิซซ่าแช่แข็งดีกว่านะคะ 4. อาหารหมักดอง ขึ้นชื่อว่าอาหารหมักดองยังไงมันก็ต้องเป็นอาหารที่ใช้เกลือเป็นส่วนผสมในปริมาณมหาศาลอยู่แล้วเพราะเกลือนั้นช่วยทำให้อาหารอยู่ได้นานขึ้นอย่างเช่นแตงกวาดองซึ่งถูกแปรรูปด้วยการดองน้ำเกลือทำให้แตงกวาแปรสภาพเป็นเหมือนฟองน้ำดูดซึมน้ำเกลือเอาไว้เพียบคงไม่ต้องพูดถึงแล้วใช่ไหมคะว่ามันจะมีโซเดียมมากสักแค่ไหนเชียวไม่ใช่แค่แตงกวานะแต่อาหารหมักดองทุกชนิดก็ไม่ต่างกันเลยค่ะ 5. อาหารกระป๋อง เราปฏิเสธกันไม่ได้เลยว่าโซเดียมมีส่วนทำให้อาหารอยู่ได้นานขึ้นรวมทั้งบรรดาอาหารกระป๋องด้วยซึ่งในอาหารกระป๋องก็มีระดับโซเดียมที่สูงแต่เรากลับไม่รู้และไม่ได้สนใจแถมเวลาที่นำอาหารกระป๋องเหล่านั้นมาทำอาหารเราก็ยังเติมเกลือเข้าไปอีกยิ่งโซเดียมสูงก็ยิ่งอันตรายโดยเฉพาะกับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงดังนั้นหลีกเลี่ยงอาหารกระป๋องแล้วมาใช้วัตถุดิบที่สดใหม่ในการทำอาหารดีกว่าแต่ก็อย่าลืมตัวใส่เกลือลงไปเยอะเกินไปล่ะ 6. น้ำตาล เรารู้กันอยู่แล้วใช่ไหมล่ะคะว่าเจ้าน้ำตาลสามารถทำให้เราเป็นโรคอ้วนได้แต่มีน้อยคนที่รู้ว่าการบริโภคน้ำตาลมากๆ ก็ทำให้ความดันโลหิตสูงได้เหมือนกันนั่นก็เป็นผลมาจากว่าเมื่อคนเราบริโภคน้ำตาลมากเกินไปก็จะทำให้กลายเป็นโรคอ้วนและโรคอ้วนนี่ล่ะค่ะที่จะทำให้เราเป็นโรคความดันโลหิตสูงซึ่งในปัจจุบันกระทรวงเกษตรของประเทศสหรัฐอเมริกาได้แนะนำปริมาณน้ำตาลที่ควรได้รับต่อวันอยู่ที่ปริมาณ 6 ช้อนชาสำหรับผู้หญิงและ 9 ช้อนชาสำหรับผู้ชาย 7. กาแฟ กาแฟถึงแม้จะไม่มีโซเดียมสูงแต่ก็สามารถทำให้เกิดการแปรปรวนของระดับความดันโลหิตในเลือดได้เพราะในกาแฟมีคาเฟอีนซึ่งเป็นศัตรูกับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเช่นกันดังนั้นถ้าใครที่เป็นโรคนี้ควรจะเลิกดื่มกาแฟไปเลยจะดีกว่าแต่ถ้าจะให้ดีกว่านี้ก็ควรจะหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นน้ำอัดลมชาชนิดต่างๆ จะดีที่สุดค่ะ 8. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์เปรียบเสมือนดาบสองคมสำหรับคนเป็นโรคความดันสูงเพราะมีการศึกษาบางส่วนพบว่าการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเช่นไวน์แดงหรือเบียร์ในปริมาณที่เหมาะสมสามารถช่วยลดระดับความดันโลหิตได้แต่ถ้าหากดื่มมากไปก็จะทำให้ความดันโลหิตสูงได้แม้แต่กับคนที่ไม่ค่อยดื่มก็ตามซึ่งการดื่มมากกว่า 3 แก้วก็สามารถทำให้ระดับความดันโลหิตเกิดความแปรปรวนได้แล้วแถมการดื่มซ้ำๆ ก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับความดันโลหิตในระยะยาวอีกด้วยและถึงแม้ว่าการดื่มแอลกอฮอล์จะช่วยทำให้ระดับความดันโลหิตทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นแต่มันก็แคลอรี่สูงและทำให้อ้วนได้เช่นกันดังนั้นถ้าคุณไม่ใช่คนที่ดื่มอยู่แล้วก็อย่าไปลองดื่มเลยจะดีกว่าค่ะ 9. ขนมปัง เชื่อหรือไม่ว่าขนมปังมีโซเดียมสูงสงสัยกันใช่ไหมล่ะคะว่าทำไมมันถึงมีโซเดียมทั้งๆ ที่มันก็ไม่ได้เค็มเลยนั่นก็เป็นเพราะว่าโซเดียมที่เราพูดถึงกันอยู่นั้นอยู่ในเบกกิ้งโซดายังไงล่ะซึ่งขนมปังจะต้องใช้เบกกิ้งโซดาในการช่วยทำให้ขนมปังฟูขึ้นจึงทำให้ขนมปังที่เรารับประทานนั้นมีโซเดียมสูงแล้วถ้ายิ่งเราทานขนมปังกับเนยเค็มด้วยล่ะก็โซเดียมยิ่งมากขึ้นเลยล่ะค่ะถ้าหากจะทานขนมปังล่ะก็หลีกเลี่ยงการรับประทานคู่กับเนยเค็มชีสหรือแฮมดีกว่านะคะ 10. อาหารเช้าซีเรียล ซีเรียลเป็นอาหารอีกหนึ่งชนิดที่เราแทบไม่คิดว่ามันจะมีผลทำให้ความดันโลหิตสูงนั่นก็เป็นเพราะว่าเราคิดว่าซีเรียลที่ทำจากธัญพืชมีประโยชน์มากกว่าโทษแต่ลองอ่านฉลากดูดีๆ สิคะเจ้าซีเรียลนี่ก็มีโซเดียมเยอะเชียวเพราะฉะนั้นถ้าเป็นโรคความดันโลหิตสูงอยู่หลีกเลี่ยงการรับประทานซีเรียลแล้วไปทานข้าวโอ๊ตหรือธัญพืชชนิดอื่นจะดีกว่านะคะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
1. เกลือ

เกลือ เจ้าศัตรูตัวร้ายของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่เป็นอย่างนั้นก็เพราะว่าในเกลือมีระดับโซเดียมที่สูง การบริโภคเกลือเพียง 5 กรัมก็เทียบเท่ากับปริมาณโซเดียมที่ต้องได้รับต่อวันแล้ว ซึ่งกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดเอาไว้อยู่ที่ 2,400 มิลลิกรัมต่อวัน

อย่างไรก็ตามถึงแม้เราจะลดการบริโภคเกลือแล้ว แต่รู้ไหมว่าจริง ๆ แล้วเราก็ยังบริโภคเกลือกันมากเกินไปอยู่ดี เพราะมากกว่า 75% ของโซเดียมที่เราบริโภคต่อวันนั้นอยู่ในอาหารแพ็กสำเร็จรูปที่เรารับประทานเข้าไปไม่ว่าจะขนมกรุบกรอบ อาหารสำเร็จรูปแช่แข็ง หรืออาหารกระป๋องต่าง ๆ ดังนั้นทางทีดีเราควรจะหลีกเลี่ยงการเติมเกลือเพิ่มลงในอาหารที่ทานแต่ละมื้อจะดีกว่าค่ะ

2. แฮม เบคอน ไส้กรอก

แฮม เบคอน ไส้กรอก เจ้าอาหารเหล่านี้นี่ล่ะค่ะคือระเบิดโซเดียมของแท้ เพราะกว่าจะกลายมาเป็นอาหารเหล่านี้ บรรดาเนื้อสัตว์ต้องผ่านกรรมวิธีการแปรรูปแต่งรสชาติ ซึ่งกรรมวิธีเหล่านี้มีเกลือเป็นส่วนประกอบเสียเป็นส่วนใหญ่ ยิ่งถ้าหากนำผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์เหล่านี้ไปรับประทานร่วมกับชีส ขนมปัง หรือพวกผักดองด้วยล่ะก็ โอ้โห ... โซเดียมทั้งนั้นเลยค่ะ นอกจากจะทำให้ความดันโลหิตสูงแล้ว อาจจะทำให้เป็นโรคไตได้เลยนะถ้ารับประทานบ่อย ๆ

3. พิซซ่าแช่แข็ง

พิซซ่า ถึงแม้ว่าจะอร่อย แต่มันก็ไม่ได้ค่อยจะดีต่อร่างกาย โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เพราะในพิซซ่า มีทั้งชีส ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์แปรรูป ซอสมะเขือเทศและขนมปัง ซึ่งส่วนประกอบทั้งหลายที่กล่าวมาเป็นแหล่งอุดมด้วยโซเดียมทั้งนั้น ยิ่งพิซซ่าแช่แข็ง ยิ่งอันตรายกับคนที่มีความดันโลหิตสูง เพราะพิซซ่าแช่แข็งจำเป็นจะต้องใส่เกลือมากกว่าพิซซ่าที่ทำร้อน ๆ เพื่อให้อาหารอยู่ได้นานขึ้น ดังนั้น ถ้าอยากทานพิซซ่า ก็ควรทานแต่น้อย และหลีกเลี่ยงพิซซ่าแช่แข็งดีกว่านะคะ

4. อาหารหมักดอง

ขึ้นชื่อว่าอาหารหมักดอง ยังไงมันก็ต้องเป็นอาหารที่ใช้เกลือเป็นส่วนผสมในปริมาณมหาศาลอยู่แล้ว เพราะเกลือนั้นช่วยทำให้อาหารอยู่ได้นานขึ้น อย่างเช่นแตงกวาดอง ซึ่งถูกแปรรูปด้วยการดองน้ำเกลือ ทำให้แตงกวาแปรสภาพเป็นเหมือนฟองน้ำดูดซึมน้ำเกลือเอาไว้เพียบ คงไม่ต้องพูดถึงแล้วใช่ไหมคะว่ามันจะมีโซเดียมมากสักแค่ไหนเชียว ไม่ใช่แค่แตงกวานะ แต่อาหารหมักดองทุกชนิดก็ไม่ต่างกันเลยค่ะ

5. อาหารกระป๋อง

เราปฏิเสธกันไม่ได้เลยว่าโซเดียมมีส่วนทำให้อาหารอยู่ได้นานขึ้น รวมทั้งบรรดาอาหารกระป๋องด้วย ซึ่งในอาหารกระป๋องก็มีระดับโซเดียมที่สูง แต่เรากลับไม่รู้และไม่ได้สนใจ แถมเวลาที่นำอาหารกระป๋องเหล่านั้นมาทำอาหารเราก็ยังเติมเกลือเข้าไปอีก ยิ่งโซเดียมสูงก็ยิ่งอันตราย โดยเฉพาะกับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ดังนั้นหลีกเลี่ยงอาหารกระป๋องแล้วมาใช้วัตถุดิบที่สดใหม่ในการทำอาหารดีกว่า แต่ก็อย่าลืมตัวใส่เกลือลงไปเยอะเกินไปล่ะ

6. น้ำตาล

เรารู้กันอยู่แล้วใช่ไหมล่ะคะ ว่าเจ้าน้ำตาลสามารถทำให้เราเป็นโรคอ้วนได้ แต่มีน้อยคนที่รู้ว่าการบริโภคน้ำตาลมาก ๆ ก็ทำให้ความดันโลหิตสูงได้เหมือนกัน นั่นก็เป็นผลมาจากว่าเมื่อคนเราบริโภคน้ำตาลมากเกินไป ก็จะทำให้กลายเป็นโรคอ้วน และโรคอ้วนนี่ล่ะค่ะที่จะทำให้เราเป็นโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งในปัจจุบันกระทรวงเกษตรของประเทศสหรัฐอเมริกาได้แนะนำปริมาณน้ำตาลที่ควรได้รับต่อวันอยู่ที่ปริมาณ 6 ช้อนชา สำหรับผู้หญิง และ 9 ช้อนชาสำหรับผู้ชาย

7. กาแฟ

กาแฟ ถึงแม้จะไม่มีโซเดียมสูงแต่ก็สามารถทำให้เกิดการแปรปรวนของระดับความดันโลหิตในเลือดได้ เพราะในกาแฟมีคาเฟอีนซึ่งเป็นศัตรูกับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเช่นกัน ดังนั้นถ้าใครที่เป็นโรคนี้ควรจะเลิกดื่มกาแฟไปเลยจะดีกว่า แต่ถ้าจะให้ดีกว่านี้ก็ควรจะหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นน้ำอัดลม ชาชนิดต่าง ๆ จะดีที่สุดค่ะ

8. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์

แอลกอฮอล์เปรียบเสมือนดาบสองคมสำหรับคนเป็นโรคความดันสูง เพราะมีการศึกษาบางส่วนพบว่าการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเช่น ไวน์แดง หรือเบียร์ในปริมาณที่เหมาะสมสามารถช่วยลดระดับความดันโลหิตได้ แต่ถ้าหากดื่มมากไปก็จะทำให้ความดันโลหิตสูงได้ แม้แต่กับคนที่ไม่ค่อยดื่มก็ตาม ซึ่งการดื่มมากกว่า 3 แก้วก็สามารถทำให้ระดับความดันโลหิตเกิดความแปรปรวนได้แล้ว แถมการดื่มซ้ำ ๆ ก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับความดันโลหิตในระยะยาวอีกด้วย และถึงแม้ว่าการดื่มแอลกอฮอล์จะช่วยทำให้ระดับความดันโลหิตทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่มันก็แคลอรี่สูงและทำให้อ้วนได้เช่นกัน ดังนั้น ถ้าคุณไม่ใช่คนที่ดื่มอยู่แล้วก็อย่าไปลองดื่มเลยจะดีกว่าค่ะ

9. ขนมปัง

เชื่อหรือไม่ว่าขนมปังมีโซเดียมสูง สงสัยกันใช่ไหมล่ะคะว่าทำไมมันถึงมีโซเดียมทั้ง ๆ ที่มันก็ไม่ได้เค็มเลย นั่นก็เป็นเพราะว่าโซเดียมที่เราพูดถึงกันอยู่นั้นอยู่ในเบกกิ้งโซดายังไงล่ะ ซึ่งขนมปังจะต้องใช้เบกกิ้งโซดาในการช่วยทำให้ขนมปังฟูขึ้น จึงทำให้ขนมปังที่เรารับประทานนั้นมีโซเดียมสูง แล้วถ้ายิ่งเราทานขนมปังกับเนยเค็มด้วยล่ะก็ โซเดียมยิ่งมากขึ้นเลยล่ะค่ะ ถ้าหากจะทานขนมปังล่ะก็หลีกเลี่ยงการรับประทานคู่กับเนยเค็ม ชีส หรือแฮมดีกว่านะคะ

10. อาหารเช้าซีเรียล

ซีเรียล เป็นอาหารอีกหนึ่งชนิดที่เราแทบไม่คิดว่ามันจะมีผลทำให้ความดันโลหิตสูง นั่นก็เป็นเพราะว่าเราคิดว่าซีเรียลที่ทำจากธัญพืชมีประโยชน์มากกว่าโทษ แต่ลองอ่านฉลากดูดี ๆ สิคะ เจ้าซีเรียลนี่ก็มีโซเดียมเยอะเชียว เพราะฉะนั้น ถ้าเป็นโรคความดันโลหิตสูงอยู่ หลีกเลี่ยงการรับประทานซีเรียลแล้วไปทานข้าวโอ๊ตหรือธัญพืชชนิดอื่นจะดีกว่านะคะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
1 . ประสิทธิภาพ การทำงานแบบมัลติทาส กิ้ง

เกลือมากกว่าเกลือเจ้าศัตรูตัวร้ายของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เป็นอย่างนั้นก็เพราะว่าในเกลือมีระดับโซเดียมที่สูง การบริโภคเกลือเพียง 5 กรัมก็เทียบเท่ากับปริมาณโซเดียมที่ต้องได้รับต่อวันแล้วซึ่งกรมอนามัยได้กำหนดเอาไว้อยู่ที่ 2400 มิลลิกรัมต่อวัน

ประสิทธิภาพ มัลติทาสกิ้งอย่างไรก็ตามถึงแม้เราจะลดการบริโภคเกลือแล้ว แต่รู้ไหมว่าจริงๆ แล้วเราก็ยังบริโภคเกลือกันมากเกินไปอยู่ดี เพราะมากกว่า 75%
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: